Thu, 02 Jun 2022 20:34:32 +0000
  1. ตัวอย่างการคำนวณ ABC (Activity Based Costing) Analysis
  2. ทฤษฎี ABC
  3. Software

จัดทำข้อมูลสินค้าคงคลัง โดยมีรายละเอียดเป็นจำนวนที่สั่งซื้อต่อปี และราคาต่อหน่วยของสินค้าคงคลังแต่ละชนิด 2. คำนวณหามูลค่าในการซื้อสินค้าคงคลังแต่ละชนิดที่หมุนเวียนในรอบปีนั้น 3. จัดเรียงลำดับข้อมูลตามลำดับของมูลค่าในการซื้อสินค้าคงคลังจากมากไปหาน้อย 4. หาค่าเปอร์เซ็นต์ของจำนวนหน่วยสะสมในแต่ละชนิดของสินค้าคงคลังจำนวนมูลค่าการซื้อสะสม 5. นำเอาค่าเปอร์เซ็นต์มาเขียนกราฟ แล้วแบ่งชนิดของสินค้าคงคลังเป็นชนิด A และ B และ C ตามความเหมาะสม ตัวอย่าง การเรียงลำดับจากมูลค่าในการซื้อสินค้าคงคลังจากมากไปหาน้อย ตัวอย่าง ผลการจัดกลุ่มสินค้าคงคลังแบบ ABC ส่วนหลักการของเดมมิ่ง (Plan Do Check Action) คือ Plan คือ การวางแผนสินค้าหรือวัตถุดิบในแต่ละประเภทที่จะอยู่ในสินค้าคงคลัง Do คือ การปฎิบัติต่อสินค้าคงคลังแต่ละประเภท Check คือ การตรวจสอบผลการปฏิบัติต่อสินค้าคงคลังในปัจจุบัน และ Action คือ การแก้ไขสินค้าคงคลังแต่ละประเภท หรือใช้การวิเคราะห์ด้วยผังก้างปลา (Fish-Bone หรือ Leaf Diagram) ซึ่งจะทำให้ทราบถึงสาเหตุของปัญหาพร้อมที่จะนำไปแก้ไขต่อไป

ตัวอย่างการคำนวณ ABC (Activity Based Costing) Analysis

ปรับปรุงการบริการลูกค้า

วัตถุดิบ ( Raw Material) หมายถึง สิ่งของหรือชิ้นส่วนที่ซื้อมาใช้ในการผลิต 2. งานระหว่างทำ ( Work-in-Process) หมายถึง ชิ้นงานที่อยู่ในขั้นตอนการผลิตหรือรอคอยที่จะผลิตในขั้นต่อไป โดยที่ยังผ่านกระบวนการผลิตไม่ครบทุกขั้นตอน 3. วัสดุซ่อมบำรุง ( Maintenance/Repair/Operating Supplies) หมายถึง ชิ้นส่วนหรืออะไหล่เครื่องจักรสำรอง ไว้เผื่อ เปลี่ยนเมื่อชั้นส่วนเดิมเสียหรือหมดอายุการใช้งาน 4. สินค้าสำเร็จรูป ( Finish Goods) หมายถึง ปัจจัยการผลิตที่ผ่านทุกกระบวนการผลิตครบถ้วนพร้อมที่จะขายให้ลูกค้า ได้ วัตถุประสงค์ของการจัดการคลังสินค้า ( อชิระ, 2557) ลดระยะทางในการปฏิบัติการในการเคลื่อนย้ายในคลังสินค้าให้มากที่สุด การใช้พื้นที่และปริมาตรในการจัดเก็บให้เกิดประโยชน์สูงสุด สร้างความมั่นใจว่าแรงงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ สาธารณูปโภคต่างๆ มีเพียงพอ และสอดคล้องกับระดับของ ธุรกิจที่ได้วางแผนไว้ สร้างความพึงพอใจในการทำงานในแต่ละวันแก่ผู้เกี่ยวข้องในการเคลื่อนย้ายสินค้าทั้งการรับเข้าและการถ่าย ออก โดยใช้ปริมาณจากการจัดซื้อ และความต้องการในการจัดส่งให้แก่ลูกค้าเป็นเกณฑ์ 5.

สินค้าที่ขายดี วางใกล้ประตูเข้าออก สินค้าที่ขายดีจะเป็นสินค้าที่มีการขนส่งบ่อยที่สุด มีการนำเข้ามาจัดเก็บและนำออกไปจัดจำหน่ายอยู่เสมอ การวางสินค้าขายดีไว้ใกล้ประตูเข้าออกจะช่วยย่นระยะเวลาในการขนส่งสินค้าได้เป็นอย่างดี 2. สินค้าขายไม่ดีจะเก็บไว้ด้านใน สินค้าที่ขายไม่ดี ควรถูกจัดเก็บเอาไว้ด้านใน เนื่องด้วยเป็นกลุ่มสินค้าที่นานๆ ครั้ง จะถูกขนส่งออกไปจำหน่าย การวางเอาไว้ด้านในเพื่อให้ด้านนอกเป็นที่เก็บสินค้าขายดีเอาไว้แทน จึงเป็นวิธีการที่เหมาะสม 3. สินค้าที่มีขนาดใหญ่ จะเก็บไว้ใกล้ประตู สินค้าที่มีขนาดใหญ่ ด้วยขนาดและน้ำหนัก หากมีการนำไปวางไว้ด้านในจะทำให้การขนส่งลำบากมากยิ่งขึ้น รวมถึงเสียเวลาในการขนส่ง การถูกเก็บเอาไว้ที่ใกล้ประตูจึงเป็นวิธีที่สะดวกสำหรับการขนส่งของสินค้าที่มีขนาดใหญ่มากที่สุด จะเห็นได้ว่าหลักการบริหารคลังสินค้า เป็นไปอย่างง่ายที่สุดและเหมาะสมตามสินค้าในแต่ละประเภท และจะให้ประสิทธิภาพในการขนส่ง ลดต้นทุนและลดแรงงานในการขนส่งได้เป็นอย่างดี ที่มาภาพและรวบรวมโดย

ทฤษฎี ABC

วัตถุดิบ (Raw Material) คือ สิ่งของหรือชิ้นส่วนที่ซื้อมาใช้ในการผลิต 2. งานระหว่างทำ (Work-in-Process) คือ ชิ้นงานที่อยู่ในขั้นตอนการผลิตหรือรอคอยที่จะผลิตไม่ครบทุกขั้นตอน 3. วัสดุซ่อมบำรุง (Maintenance/ Repair/ Operating Supplies) คือ ชิ้นส่วนหรืออะไหล่เครื่องจักรที่สำรองไว้เผื่อเปลี่ยนเมื่อชิ้นส่วนเดิมเสียหรือหมดอายุการใช้งาน 4. สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods) คือ ปัจจัยการผลิตที่ผ่านทุกกระบวนการผลิตครบถ้วนพร้อมที่จะขายให้ลูกค้าได้ ทั้งนี้ ในส่วนของปัญหาด้านสินค้าคงคลัง ที่มักพบเจอภายในบริษัทโดยทั่วไป มีอยู่ 4 ประเด็น ดังนี้ 1. ปัญหานโยบายการบริหารการจัดการสินค้าคงคลังไม่ชัดเจน เนื่องจากบริษัทต้องการที่จะจำหน่ายสินค้าที่มีความหลากหลาย รองรับต่อความต้องการของกลุ่มลูกค้าให้ครอบคลุมทุกกลุ่มมากที่สุด เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ซึ่งก็จะทำให้ต้นทุนในการจัดเก็บสินค้าสูงขึ้น และโอกาสเสี่ยงที่สินค้าจะล้าสมัยตามไปด้วย รวมถึงนโยบายการร่วมมือกับซัพพลายเออร์ในการส่งวัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการการผลิต ทำให้สินค้า/วัตถุดิบขาดสต็อกและผลิตสินค้าไม่ทันส่งตามกำหนด 2. ปัญหานโยบายการสั่งซื้อสินค้า การมีสินค้าที่เกินความต้องการ หรือการมีสินค้าที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาดและผู้บริโภค ที่ผ่านมักมาพบว่า ส่วนหนึ่งมาจากการสั่งซื้อที่ไม่มีประสิทธิภาพ การที่ไม่ได้ศึกษาข้อมูลและพยากรณ์วิเคราะห์ยอดขายอย่างจริงจัง หรือเห็นประโยชน์ความคุ้มค่าในเงื่อนไขการสั่งซื้อในปริมาณที่มาก ราคาต่อหน่วยต่ำ หรือได้รับส่วนลดหรือโปรโมชั่นแต่ละซัพพลายเออร์ รวมถึงการไม่คำนึงถึงความนิยมของผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้น-ลดลง 3.

ABC (Activity Based Costing) Analysis มาจากกฏ Pareto 80/20 ถ้าเป็นวัตถุดิบใช้มูลค่ารวมของราคาต้นทุนสินค้า ถ้าเป็นสินค้าสำเร็จรูปให้ใช้มูลค่ารวมของยอดขาย ขั้นที่1 นำปริมาณการขายต่อปี X ราคาต่อหน่วย ขั้นที่2 นำมาจัดเรียงจากมากไปน้อย ขั้นที่ 3 คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ในสินค้าแต่ละประเภท ขั้นที่ 4 จัดกลุ่มสินค้า A, B, C กลุ่ม A เป็นสินค้าที่มี% มากที่สุดและรองลงมา เมื่อนำมาบวกกันอยู่ระหว่าง 70-80% กลุ่ม B เป็นสินค้าที่มี% รองลงมาจากกลุ่ม A กลุ่ม C เป็นสินค้าที่มี% รองลงมาจากกลุ่ม B

Software

สวัสดีครับ พอดีได้อ่านบทความที่ดี มีประโยชน์ จึงขออนุญาตมาเผนแพร่ต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เขียน: SHE Zone อัพเดท: 04 เม. ย. 2011 16. 33 น.

  • Ascorbic acid ราคา
  • ทฤษฎี abc analysis tool
  • ทฤษฎี abc analysis คืออะไร
  • โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ แหล่งดาวน์โหลด โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ ฟรี

วัตถุดิบ ( Materials) 2.

  1. Nikon 14 24 f2 8 ราคา series
  2. Hell fest ไทย 1
  3. สาย เชื่อม ทองแดง เต็ม
  4. 7 massage สะพานควาย
  5. 95 ลิตร ละ