Fri, 08 Jul 2022 19:45:27 +0000

ฉบับหอสมุดแห่งชาติ. )

มาตราตัวสะกด | มาตราตัวสะกดในภาษาไทย

มาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกดมีทั้งที่ใช้ตัวสะกดตรงแม่ และมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงแม่ การเรียนรู้มาตราตัวสะกดต่างๆ ทำให้เขียนและอ่านคำได้ถูกต้อง มาตราตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ผสมอยู่ข้างหลังคำหรือพยางค์ในแม่ ก กา ทำให้แม่ ก กา มีตัวสะกด เช่น มี เมื่อประสมกับ ด กลายเป็น มีด เป็นต้น มาตรา ก กา หรือแม่ ก กา คือ คำหรือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น มา เสือ ตัว มือ เสีย ดำ ฯลฯ ส่วนมาตราตัวสะกดมีทั้งหมด ๘ แม่ คือ กก กด กบ กม เกย เกอว กง กน แบ่งได้ดังนี้ ๑. มาตราตัวสะกดตรงแม่ ใช้ตัวสะกดตัวเดียว มี ๔ มาตรา คือ แม่กง ใช้ ง สะกด เช่น หาง ปลิง สอง งง แรง ฯลฯ แม่กม ใช้ ม สะกด เช่น ลม แต้ม โสม มุม งอม สนาม ฯลฯ แม่เกย ใช้ ย สะกด เช่น สาย ลอย โปรย เฉย ปุ๋ย ฯลฯ แม่เกอว ใช้ ว สะกด เช่น แห้ว กาว เปรี้ยว เปลว ฯลฯ ๒. มาตราตัวสะกดไม่ตรงแม่ มีตัวสะกดหลายตัวในมาตราเดียวกัน เพราะออกเสียงเหมือนตัวสะกดเดียวกัน มี ๔ มาตรา คือ แม่กน ใช้ น ญ ณ ร ล ฬ สะกด เช่น นาน วิญญาณ วานร กาลเวลา พระกาฬ ฯลฯ แม่กก ใช้ ก ข ค ฆ สะกด เช่น ปัก เลข วิหค เมฆ ฯลฯ แม่กด ใช้ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด เช่น แปด ตรวจ ก๊าช บงกช กฎหมาย ปรากฏ อิฐ ครุฑ วัฒนา เปรต โอสถ บาท โกรธ กระดาษ รส เลิศ ฯลฯ แม่กบ ใช้ บ ป ภ พ ฟ สะกด เช่น กลับ บาป ลาภ นพรัตน์ กราฟ ฯลฯ

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑. ๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด มฐ. ท ๑. ๑ ป. ๒/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง มฐ. ๒/๒ อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน มาตรฐาน ท ๒. ๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ มฐ. ท ๒. ๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด มาตรฐาน ท ๔. ๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ มฐ. ท ๔. ๒/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ โหลดได้ที่ >>>>>>>> แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ ความหมายของคำที่อยู่ในมาตรา ก กา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ อ่านสะกดคำ มาตรา ก กา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ รู้จัก แม่ ก กา ใบงานที่5 หน่วย 2 แผนที่ 5 ใบงานที่4 หน่วย 2 แผนที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง มาตรา ก กา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ สรุปความรู้มาตรา ก กา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ คัดลายมือ มาตรา ก กา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เขียนคำ มาตรา ก กา และบอกความหมาย

ภาษาไทยหรรษา คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราแม่กง กน กม เกย เกอว 2of2 Force8949 - YouTube

ภาษาไทยหรรษา คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราแม่กง กน กม เกย เกอว 2of2 Force8949 - YouTube

  • ภาษาไทย - ประถม: มาตราตัวสะกด
  • วิธีการสัมภาษณ์งานอย่างถูกวิธี? | เนสท์เล่ สมัครงาน | ข้อมูลด้านสุขภาพล่าสุด - Sri Sathya Sai International Organization
  • รอ บอก เป็น เซน นิ้ว

มาตราตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ประกอบอยู่ท้ายคำหรือพยางค์ในแม่ ก กา ทำให้เสียงของคำแตกต่างกันตามพยัญชนะที่นำมาประกอบ เช่น "ลา" เมื่อประสมกับ "ก" อ่านว่า ลาก มาตรา ก กา หรือ แม่ ก กา คือคำหรือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น ลา เรือ งู มาตราตัวสะกดมีใช้ทั้งตัวสะกดที่ตรงมาตราและตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา เมื่อได้เรียนรู้ในเรื่องตัวสะกดตามมาตราต่าง จะทำให้อ่านคำได้อย่างถูกต้อง มาตราตัวสะกดมี ๘ มาตรา ไดแก่ แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กง แม่กน สามารถแบ่งตัวสะกดที่ตรงมาตราและไม่ตรงมาตราได้ดังนี้ ๑. มาตราตัวสะกดที่ตรงมาตรา แม่กง พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คือ ง เช่น ลิง ตรง ปราง แม่กม พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คือ ม เช่น กลม ข้าม แก้ม แม่เกย พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คือ ย เช่น กลาย ลอย ถ่าย แม่เกอว พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คือ ว เช่น ข้าว เคี้ยว นิ้ว ๒. มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา คือ มีพยัญชนะหลายตัวมาเป็นตัวสะกด แต่อ่านออกเสียงในมาตราเดียวกัน ออกเสียงเหมือนตัวสะกดเดียวกัน แม่กน พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คือ น ญ ณ ร ล ฬ เช่น กิน หาญ กาล แม่กก พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คือ ก ข ค ฆ เช่น รัก เลข เมฆ แม่กด พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คือ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส เช่น ตลาด รถ โกรธ แม่กบ พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คือ บ ป ภ พ ฟ เช่น จบ บาป ภาพ

มาตรา ก ง มาตรา กม 10

มาตราตัวสะกด แม่กง - ภาษาไทย ป. 2 - YouTube

การสะกดคำภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษา : มาตราตัวสะกดในภาษาไทย

ส า ระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกดมีทั้งที่ใช้ตัวสะกดตรงแม่ และมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงแม่ การเรียนรู้มาตราตัวสะกดต่างๆ ทำให้เขียนและอ่านคำได้ถูกต้อง มาตราตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ผสมอยู่ข้างหลังคำหรือพยางค์ในแม่ ก กา ทำให้แม่ ก กา มีตัวสะกด เช่น มี เมื่อประสมกับ ด กลายเป็น มีด เป็นต้น มาตรา ก กา หรือแม่ ก กา คือ คำหรือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น มา เสือ ตัว มือ เสีย ดำ ฯลฯ ส่วนมาตราตัวสะกดมีทั้งหมด ๘ แม่ คือ กก กด กบ กม เกย เกอว กง กน แบ่งได้ดังนี้ ๑. มาตราตัวสะกดตรงแม่ ใช้ตัวสะกดตัวเดียว มี ๔ มาตรา คือ แม่กง ใช้ ง สะกด เช่น หาง ปลิง สอง งง แรง ฯลฯ แม่กม ใช้ ม สะกด เช่น ลม แต้ม โสม มุม งอม สนาม ฯลฯ แม่เกย ใช้ ย สะกด เช่น สาย ลอย โปรย เฉย ปุ๋ย ฯลฯ แม่เกอว ใช้ ว สะกด เช่น แห้ว กาว เปรี้ยว เปลว ฯลฯ ๒.

ตัวสะกดที่เป็นรูปพยัญชนะเดี่ยวในภาษาไทยมี 8 เสียง ( 8 มาตรา) ได้แก่ 1. แม่กก พยัญชนะในแม่กก คือ ก, ข, ค, ฆ เช่น จาก สุข นาก เมฆ ฯลฯ 2. แม่กง พยัญชนะในแม่กง คือ ง เช่น จง ปลง กรง สรง ฯลฯ 3. แม่กด พยัญชนะในแม่กด คือ จ, ช, ซ, ฎ, ฏ, ฐ, ฑ, ด, ต, ถ, ท, ธ, ศ, ส, ษ เช่น อาจ นุช ก๊าซ กฎ ปรากฎ อูฐ ครุฑ ฯลฯ 4. แม่กน พยัญชนะในแม่กน คือ ญ, ณ, น, ร, ล, ฬ เช่น ชำนาญ คุณ กิน จร กาล ฯลฯ 5. แม่กบ พยัญชนะในแม่กบ คือ บ, ป, พ, ฟ, ภ เช่น กราบ บาป ภาพ ลาภ ฯลฯ 6. แม่กม พยัญชนะในแม่กม คือ ม เช่น กลม จม บ่ม นม ฯลฯ 7. แม่เกย พยัญชนะในแม่เกย คือ ย เช่น ขวย สวย ขาย นาย ฯลฯ 8. แม่เกอว พยัญชนะในแม่ เกอว คือ ว เช่น ราว สาว หนาว พราว ฯลฯ นอกจากนั้นตัวสะกดที่เป็นพยัญชนะรูปเดี่ยวอาจมีสระประกอบอยู่ด้วย เช่น ญาติ ชาติ สมบัติ ฯลฯ 2. ตัวสะกดที่เป็นรูปพยัญชนะประสม ตัวสะกดรูปที่เป็นพยัญชนะประสม คือ ตัวสะกดที่ใช้รูปยัญชนะ 2 ตัวเรียงกันแต่อ่านออกเสียงตัวสะกดเพียงเสียงเดียว เช่น โคตร สูตร จักร บาตร เนตร ฯลฯ 1. ตัวสะกดตรงตามมาตรา มีอยู่ 4 มาตรา คือ แม่กง ได้แก่คำที่มี ง เป็นตัวสะกด แม่กม ได้แก่คำที่มี ม เป็นตัวสะกด แม่เกย ได้แก่คำที่มี ย เป็นตัวสะกด แม่เกอว ได้แก่คำที่มี ว เป็นตัวสะกด 2.

มาตรา ก ง มาตรา กม 16

มาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ผสมอยู่ข้างหลังคำหรือพยางค์ในแม่ ก กา ทำให้แม่ ก กา มีตัวสะกด เช่น มี เมื่อประสมกับ ด กลายเป็น มีด เป็นต้น มาตรา ก กา หรือแม่ ก กา คือ คำหรือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น มา เสือ ตัว มือ เสีย ดำ ฯลฯ ส่วนมาตราตัวสะกดมีทั้งหมด ๘ แม่ คือ ๑. มาตราแม่ กก ๒. มาตราแม่ กด ๓. กบ ๔. มาตราแม่ กน ๕. มาตราแม่ กง ๖. มาตราแม่ กม ๗. มาตราแม่ เกย ๘. มาตราแม่ เกอว แบ่งได้ดังนี้ มาตราตัวสะกดตรงแม่ มี ๔ มาตรา คือ · มาตราแม่ กง มี ง เป็นตัวสะกด เช่น กาง หาง บาง สอง มอง งง แรง ปลิง ขิง · มาตราแม่ กม มี ม เป็นตัวสะกด เช่น ลม ตาม ถาม สาม แต้ม โสม มุม งอมแงม สนาม · มาตราแม่ เกย มี ย เป็นตัวสะกด เช่น หาย สาย ลอย คอย โปรย เฉย เลย ปุ๋ย · มาตราแม่ เกอว มี ว เป็นตัวสะกด เช่น กาว สาว ขาว เปรี้ยว เปลว แมว แถว แห้ว มาตราตัวสะกดไม่ตรงแม่. คือ มีตัวสะกดหลายตัวในมาตราเดียวกัน ออกเสียงเหมือนตัวสะกดเดียวกัน มี ๔ มาตรา ได้แก่ · มาตราแม่ กก มี ก ข ค ฆ เป็นตัวสะกด เช่น ปัก เลข วิหค เมฆ · มาตราแม่ กด มี ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส เป็นตัวสะกด เช่น แปด ตรวจ ก๊าช บงกช กฎหมาย ปรากฏ อิฐ ครุฑ วัฒนา เปรต โอสถ บาท โกรธ กระดาษ รส เลิศ · มาตราแม่ กบ มี บ ป ภ พ ฟ เป็นตัวสะกด เช่น กลับ บาป ลาภ นพรัตน์ กราฟ ฯลฯ · มาตราแม่ กน มี น ญ ณ ร ล ฬ เป็นตัวสะกด เช่น นาน วิญญาณ วานร กาลเวลา การบ้าน พระกาฬ

  1. ค่า รถไฟ ไป เชียงราย รีสอร์ท
  2. บอก ลาภ ปี 63 jlcea3a7bgj xn p1ai
  3. แผนที่ ยุทธภูมิ สาม ก๊ก