Thu, 02 Jun 2022 20:18:10 +0000
  1. บริการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์
  2. การชำระเงินกู้ยืม กยศ.ผ่านกรมมสรรพากร (e-paySLE) - บริษัท แอคโปรแท็ค จำกัด

โดย ผศ. ดร.

บริการชำระภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์

e payment กรม สรรพากร payment

มื่อการชำระเงินกู้ยืม กยศ. กลายมาเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการที่ต้องหักและนำส่ง ใครที่เป็นหนี้ กยศ. อยู่จะเริ่มโดนหักเงินเดือนตั้งแต่มีนาคม 64 นี้เป็นต้นไปนะคะ 1. การเข้าระบบ e-PaySLE เข้าที่เว็บสรรพากร>ยื่นภาษีออนไลน์> นำส่งเงินกู้ยืม กยศ. > เข้าสู่ระบบ ก่อนเข้าระบบ ผู้ประการที่มี User & Password ในการยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ตอยู่แล้วให้ทำการเพิ่มนำส่งเงิน กยศ. เข้าไปก่อนโดยคลิกที่ยื่นภาษีออนไลน์ > บริการสมาชิก > เพิ่ม-ลด ประเภทแบบ ส่วนผู้ประกอบการที่ยังไม่มีให้ดำเนินการสมัครสมาชิกเพื่อขอ User & Password ในการยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ตก่อน 2. การสร้างผู้ใช้งาน (Profile) เลือกที่สร้างผู้ใช้งานใหม่ > กรอก User & Password ในการยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ต > กรอกราบละเอียดผู้ใช้งานให้ครบถ้วน (เลขประจำตัวประชาชน ชื่อ-สกุล เบอร์โทรศัพท์ E-mail และ Username ที่จะใช้เข้าระบบ) > บันทึก > ระบบจะส่งรหัส PIN code ให้ทาง E-mail จากนั้นให้นำ Username & PIN cord ที่ได้มากรอกเพื่อเข้าระบบ 3. การตรวจสอบข้อมูล/จำนวนเงินที่ต้องนำส่งในแต่ละเดือน สามารถทำได้ทั้งออนไลน์ หรือจะดาวน์โหลดลงมาเป็น Excel/CVS ก็ได้ โดยไปที่แถบยืนยันตรวจสอบข้อมูล > ระบบก็จะแสดงข้อมูลที่เรียกเก็บใหม่ในแต่ละเดือน > ดูรายละเอียด ระบบก็จะแสดงรายละเอียดยอกเงอนหักพนักงานแต่ละคนไว้ > กรอกวันที่หักเงิน (DD/MM/YYYY) > หากไม่สามารถหักเงินหักเงินพนักงานคนไหนไว้ได้ให้ระบุในช่องสาเหตุ > บันทึกการแก้ไข > ยืนยันการหักเงินเดือน > พิมพ์ Pay Slip นำไปชำระได้ที่ธนาคารกรุงไทย/ออมสิน อ้างอิง:

e payment กรม สรรพากร 2017
  • Tedet ประกาศ ผล 2560 datasheet
  • "สรรพากร" ชูดิจิทัล ทำภาษีเป็นเรื่องง่าย | The Story Thailand
  • E payment กรม สรรพากร login
  • E payment กรม สรรพากร free
  • E payment กรม สรรพากร pay
  • E payment กรม สรรพากร payment
  • E payment กรม สรรพากร form
  • E payment กรม สรรพากร 1
  • 4e การ ตลาด

การชำระเงินกู้ยืม กยศ.ผ่านกรมมสรรพากร (e-paySLE) - บริษัท แอคโปรแท็ค จำกัด

ได้ทำการบันทึกว่าด้วยเหตุผลการสนับสนุน และกำกับดูแลผู้ประกอบการให้จัดทำบัญชี และงบการเงินให้สอดคล้องกับความเป็นจริงของตัวกิจการ โดยสรรพากรได้นำเสนอมาตรการการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการจัดทำบัญชีให้สอดคล้องกันกับสภาพที่แท้จริง เป็นไปตามความจริงในกิจการ ตรงนี้จึงถือเป็นโอกาสอีกหนึ่งครั้ง ที่กิจการจะสามารถทำการปรับปรุงรายการบัญชีเพื่อเป็นจุดเริ่มต้นที่ถูกต้อง เพื่อกิจการจะสามารถจัดทำบัญชีที่สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริงของกิจการได้ต่อไป ตามมาดูคุณสมบัติ / สิทธิประโยชน์ / วิธีการสำหรับผู้ประกอบการที่ทำบัญชีให้สอดคล้องแล้วกัน ผู้ประกอบการที่จะได้รับสิทธิ์ ต้องมีคุณสมบัติ และสิ่งต้องห้ามดังต่อไปนี้ 1. ผู้ประกอบการมีรายได้จากกิจการ หรือเนื่องจากกิจการที่กระทำในรอบระยะเวลาของบัญชีสุดท้าย ที่มีกำหนดครบรอบในเวลาสิบสองเดือน ทั้งนี้ทั้งนั้นโดยวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดก่อน หรือวันที่ 30 กันยายน 2561 ในราคาไม่เกินห้าร้อยล้านบาท *ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในบัญญัติตามมาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร 2. ผู้ประกอบการได้มีการยื่นรายการภาษีเงินได้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีตามข้อที่ 1 ไว้ก่อนแล้ว ก่อนวันที่พระราชบัญญัติเริ่มมีผลบังคับใช้ 3.

e payment กรม สรรพากร 1

การฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกันตั้งแต่ 3, 000 ครั้งต่อปีต่อธนาคาร และ 2.

สรรพากรปัดข่าวรีดภาษีขายออนไลน์ ชี้หากยอดขายถึง 2 ล้านบาท จ่ายภาษี 1 หมื่นบาทเริ่มปี2563 นายปิ่นสาย สุรัสวดี โฆษกกรมสรรพากร เปิดเผยว่า จากกรณีที่ ร่าง พ. ร. บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ …) พ. ศ.